บทตัดย่อ
|
ศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีโคลอสโตมีย์ชนิดถาวรซึ่งมารับบริการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 95 คน ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2550 โดยเป็นการศึกษาแบบพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง ข้อมูลที่ได้ในการวิจัยนี้ใช้ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูลปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านการเจ็บป่วยและการรักษา และปัจจัยด้านจิตสังคมและเศรษฐกิ โดยใช้แบบสอบถามเพื่อวัดสุขภาพจิต Hospital Anxiety and Depression Scale ฉบับภาษาไทย (Thai HADS) แบบวัดสภาวะการดำรงชีวิตต่อการมีโคลอสโตมีย์ แบบสอบถามเพื่อวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก (WHOQOL- BREF -THAI) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ สถิติไคสแควร์ สถิติ T- test สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติความถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีโคลอสโตมีย์ชนิดถาวร ร้อยละ 76.84 มีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสำหรับคุณภาพชีวิตรายด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 72.6, 63.2, 72.6, 81.1 ตามลำดับ ภาวะแทรกซ้อนที่ผู้ป่วยให้ความสำคัญ ได้แก่ การรั่วซึมของอุจจาระ ร้อยละ 32.6 การมีผื่นคันรอบๆ โคลอสโตมีย์ ร้อยละ 30.5 การเข้าสังคมร้อยละ 20 พบภาวะวิตกกังวล ร้อยละ 24.2 ภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 15.8 ปัจจัยที่สามารถทำนายคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยที่มีโคลอสโตมีย์ชนิดถาวร ได้แก่ สภาวะการดำรงชีวิตต่อการมีโคลอสโตมีย์ รายได้หลังป่วย โรคเอดส์ (R² = 0.764) ส่วนตัวแปร ภาวะวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า เป็นปัจจัยที่ร่วมทำนายคุณภาพชีวิตเฉพาะด้านจิตใจ (R² = 0.768) และภาวะซึมเศร้าเป็นปัจจัยที่ร่วมทำนายคุณภาพชีวิตเฉพาะด้านสุขภาพกาย (R² = 0.697).ศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีโคลอสโตมีย์ชนิดถาวรซึ่งมารับบริการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 95 คน ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2550 โดยเป็นการศึกษาแบบพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง ข้อมูลที่ได้ในการวิจัยนี้ใช้ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูลปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านการเจ็บป่วยและการรักษา และปัจจัยด้านจิตสังคมและเศรษฐกิ โดยใช้แบบสอบถามเพื่อวัดสุขภาพจิต Hospital Anxiety and Depression Scale ฉบับภาษาไทย (Thai HADS) แบบวัดสภาวะการดำรงชีวิตต่อการมีโคลอสโตมีย์ แบบสอบถามเพื่อวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก (WHOQOL- BREF -THAI) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ สถิติไคสแควร์ สถิติ T- test สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติความถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีโคลอสโตมีย์ชนิดถาวร ร้อยละ 76.84 มีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสำหรับคุณภาพชีวิตรายด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพกาย ด้านจิตใจ ด้านสัมพันธภาพทางสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 72.6, 63.2, 72.6, 81.1 ตามลำดับ ภาวะแทรกซ้อนที่ผู้ป่วยให้ความสำคัญ ได้แก่ การรั่วซึมของอุจจาระ ร้อยละ 32.6 การมีผื่นคันรอบๆ โคลอสโตมีย์ ร้อยละ 30.5 การเข้าสังคมร้อยละ 20 พบภาวะวิตกกังวล ร้อยละ 24.2 ภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 15.8 ปัจจัยที่สามารถทำนายคุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ป่วยที่มีโคลอสโตมีย์ชนิดถาวร ได้แก่ สภาวะการดำรงชีวิตต่อการมีโคลอสโตมีย์ รายได้หลังป่วย โรคเอดส์ (R² = 0.764) ส่วนตัวแปร ภาวะวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า เป็นปัจจัยที่ร่วมทำนายคุณภาพชีวิตเฉพาะด้านจิตใจ (R² = 0.768) และภาวะซึมเศร้าเป็นปัจจัยที่ร่วมทำนายคุณภาพชีวิตเฉพาะด้านสุขภาพกาย (R² = 0.697).
|
Abstract
|
The objective of a cross-sectional descriptive investigation concentrated in quality of life of patients with permanent colostomy of King Chulalongkorn Memorial Hospital during the period from December,2006 to February 2007. The instrument had been used to collect the data, namely, the demographic data , Thai version of Hospital Anxiety and Depression scale, Quality of life in colostomy patient questionnaire, and WHOQOL- BREF-THAI questionnaire. The statistic utilized in the study were percentage, mean, and standard deviation, Chi-square, T-test, Pearson’ Product Moment Correlation Co- efficiency and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results of this study were as following ; The overall quality of life in patients with permanent colostomy was moderated level ( 76.84%). Their quality of life in physical, psychological, social relationship, and environment aspects were also at moderated level ( 72.6%, 63.2% , 72.6% , 81.1%). Complication of colostomy were leakage, rash,and social problem ( 32.6%, 30.5%, 20 %). Their quality of life in psychological were Anxiety (24.2%) and Depression ( 15.8%).The predictive factors of the overall quality of life were quality of life with colostomy, post illness income, AIDS ( R² =0.764). The predictive factors of quality of life in psychological were anxiety and depression ( R² = 0.768 ).The predictive factors quality of life in physical were depression ( R² = 0.697).The objective of a cross-sectional descriptive investigation concentrated in quality of life of patients with permanent colostomy of King Chulalongkorn Memorial Hospital during the period from December,2006 to February 2007. The instrument had been used to collect the data, namely, the demographic data , Thai version of Hospital Anxiety and Depression scale, Quality of life in colostomy patient questionnaire, and WHOQOL- BREF-THAI questionnaire. The statistic utilized in the study were percentage, mean, and standard deviation, Chi-square, T-test, Pearson’ Product Moment Correlation Co- efficiency and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results of this study were as following ; The overall quality of life in patients with permanent colostomy was moderated level ( 76.84%). Their quality of life in physical, psychological, social relationship, and environment aspects were also at moderated level ( 72.6%, 63.2% , 72.6% , 81.1%). Complication of colostomy were leakage, rash,and social problem ( 32.6%, 30.5%, 20 %). Their quality of life in psychological were Anxiety (24.2%) and Depression ( 15.8%).The predictive factors of the overall quality of life were quality of life with colostomy, post illness income, AIDS ( R² =0.764). The predictive factors of quality of life in psychological were anxiety and depression ( R² = 0.768 ).The predictive factors quality of life in physical were depression ( R² = 0.697).
|